บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2017

My logo

รูปภาพ
น.ส. ณัฐชา จันทร์สง่า

My flower

รูปภาพ
ขั้นตอนที่ 1 เปิดโปรแกรมAdobe Photoshop cs6 ขั้นตอนที่ 2 ไปที่ file → open แล้วเลือกรูปดอกไม้ที่ต้องการทำ ขั้นตอนที่ 3 คลิกขวาที่ Lasso → Polygonal Lasso Tool แล้วลากไปที่พื้นหลังของภาพแล้วตัดออกให้เป็นพื้นสีขาว เหลือแต่ดอกไม้ไว้ ขั้นตอนที่ 4 เลือกสีที่ชอบ แล้วไปที่ Paint Bucket Tool หลังจากนั้นให้เทไปที่พื้นสีขาว ก็จะได้พิ้นหลังสีที่เราต้องการ ขั้นตอนที่ 5 ไปที่ File → Save as น.ส. ณัฐชา จันทร์สง่า  เลขที่29  ชั้น ม.6/4

การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยใช้โปรแกรมPower point

การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยใช้โปรแกรมPower point  นางสาวณัฐชา จันทร์สง่า  เลขที่29 ม.6/4

ถ้าคุณต้องการที่จะเรียนรู้การรีทัชภาพถ่ายบุคคล

รูปภาพ
Before After อ่อนวัยขึ้นได้ด้วย Photoshop 1. คลิกเครื่องมือ Zoom แล้วทำการซูมเข้าไปเพื่อดูส่วนที่เป็นรอยเหี่ยวบนใบหน้าที่ต้องการจะแก้ไข 2. คลิกปุ่ม New Layert เพื่อสร้าง Layer เปล่า 3. คลิก Spot Healing Brush 4. ใส่เครื่องหมายถูกที่ Sample All Layers (   เปลี่ยนเป็น   ) 5. ใส่เครื่องหมายถูกที่ Content-Aware (   เปลี่ยนเป็น   ) 6. คลิกที่เมนู Drop-down ตำแหน่งตามรูปเพื่อทำการเลือกหัวแปรง 7. ปรับขนาดที่ตัวเลื่อน Size เพื่อทำการเปลี่ยนขนาดหัวแปรง โดยให้หัวแปรงมีขนาดเท่ากับรอยเหี่ยวบนใบหน้าที่ลึกที่สุด 8. ปรับตัวเลื่อน Hardness ไปที่ตำแหน่งตรงกลางตัวเลื่อน 9. เลือกตำแหน่งดังรูปเพื่อปรับความกลมของหัวแปรง 10. ลากหัวศรในรูปเพื่อเปลี่ยนมุมของแปรงโดยให้มีทิศทางเดียวกับรอยเหี่ยวที่ลึกที่สุด 11. ระบายลงบนรอยเหี่ยวที่ลึกที่สุด 12. คลิกปุ่ม New Layer เพื่อสร้าง Layer ใหม่ 13. ทำตามขั้นตอนที่ 6 ถึง 10 โดยเปลี่ยนมุมของแปรงและความกลมให้ไปในแนวของรอยเหี่ยวแนวอื่นๆ 14. กด command+ Option (Ctrl + Alt) และทำการคลิกแล้วลากเพื่อทำการซูมออก 15. เลือก Layer บน

ภาพฟุ้งกะะจาย

รูปภาพ
นางสาวณัฐชา จันทร์สง่า ชั้น ม.6/4 เลขที่ 29 ขั้นตอน 1.คลิกเลือกรูปภาพที่ต้องการ 2.คลิก   แล้วลากให้พอดีกับขนาดที่เราต้องการ 3.คลิกที่ Select  แล้วเลือก Modify และไปที่ feather selection 4.เลือกขนาดตามต้องการ แล้วคลิก OK 5.  คลิก แล้วกดปุ่ม Backspace และ enter 6.ขั้นตอนสุดท้ายก็บันทึกค่ะ

ส่วนประกอบของ Photoshop cs6

รูปภาพ
ส่วนประกอบของ Adobe Photoshop CS 6 1.แถบเมนูคำสั่ง ( Menu Bar)    แถบเมนูคำสั่งประกอบไปด้วยทั้งหมด 10 เมนูคำสั่ง โดยแสดงชื่อเมนูคำสั่งและรูปแบบการทำงาน รูปแบบการทำงานของแถบเมนูคำสั่ง File  สำหรับจัดการกับไฟล์ภาพในลักษณะต่าง ๆ เช่น สร้างไฟล์งานใหม่ เปิดไฟล์ภาพ บันทึกไฟล์งาน นำเข้าหรือส่งออกไฟล์เพื่อทำงานในลักษณะอื่น ๆ Edit  สำหรับแก้ไขภาพ เช่น ตัด คัดลอก วาง รวมถึงปรับแต่งค่าเบื้องต้นของโปรแกรม  Image  สำหรับจัดการภาพ เช่น แก้ไขความสว่างหรือสีของภาพให้สมดุลยิ่งขึ้น รวมถึงใช้สำหรับย่อขยายขนาดภาพ และกำหนดขนาดพื้นที่การทำงานของภาพ Layer  สำหรับจัดการเกี่ยวกับเลเยอร์ เช่น การสร้างเลเยอร์ใหม่ การรวมเลเยอร์ การแปลง เลเยอร์ การจัดการกับเลเยอร์ของไฟล์ลักษณะต่าง ๆ รวมถึงการจัดการรายละเอียดของภาพในเลเยอร์นั้น ๆ Type  สำหรับจัดการและปรับแต่งเกี่ยวกับข้อความ เช่น ปรับแต่งสีข้อความ ปรับแต่งขอบข้อความ หรือการเปลี่ยนข้อความให้เป็นภาพ Select  สำหรับปรับแต่งการเลือกพื้นที่ บันทึกและเรียกพื้นที่ที่เลือกมาใช้งาน รวมถึงคำสั่งสำหรับการเลือกพื้นที่เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ